นาลันทา
หน้าตา
ซากปรักหักพังของนาลันทามหาวิหาร | |
ที่ตั้ง | อำเภอนาลันทา, รัฐพิหาร, ประเทศอินเดีย |
---|---|
ภูมิภาค | มคธ |
พิกัด | 25°08′12″N 85°26′38″E / 25.13667°N 85.44389°E |
ความยาว | 240 m (800 ft) |
ความกว้าง | 490 m (1,600 ft) |
พื้นที่ | 12 ha (30 เอเคอร์) |
ความเป็นมา | |
ผู้สร้าง | ราชากุมารคุปตะที่หนึ่ง |
สร้าง | ศตวรรษที่ 5 |
ละทิ้ง | ศตวรรษที่ 13 |
วัฒนธรรม | ศาสนาพุทธ, ศาสนาฮินดู |
เหตุการณ์ | ปล้นสะดมโดยบาขตียาร์ ขาลจี เมื่อ ป. 1200 |
หมายเหตุเกี่ยวกับสถานที่ | |
ขุดค้น | 1915–1937, 1974–1982[1] |
ผู้ขุดค้น | เดวิด บี. สปูนเนอร์, หิรานันท์ สาสตรี, Palak shahJ.A. Page, M. Kuraishi, จี.ซี. จันทระ, N. Nazim, อมาลานันท์ โฆษ[2] |
การเปิดให้เข้าชม | ใช่ |
เว็บไซต์ | ASI |
ASI No. N-BR-43[3] | |
ชื่อทางการ | แหล่งโบราณคดีนาลันทามหาวิหาร (มหาวิทยาลัยนาลันทา) ที่รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย |
เกณฑ์พิจารณา | วัฒนธรรม: iv, vi |
อ้างอิง | 1502 |
ขึ้นทะเบียน | 2016 (สมัยที่ 40th) |
พื้นที่ | 23 ha |
พื้นที่กันชน | 57.88 ha |
นาลันทา (สันสกฤต: नालंंदा ISO: Nālandā, ออกเสียง [naːlən̪d̪aː]) เป็นอดีตพุทธวิทยาลัยในอาณาจักรมคธ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย[4] เอกสารทางศาสนาพุทธปรากฏเรียกนาลันทาว่าเป็น มหาวิหาร จนกระทั่งราว ค.ศ. 400 มหาวิทยาลัยเริ่มกลายเป็นของศาสนาพราหมณ์เป็นหลัก ตามด้วยนิกายมหายานในภายหลัง วิชาการอย่าง พระเวท, เวทางคะ, ไวยากรณ์ (วยากรณะ), ดาราศาสตร์ (ชโยติศะ), ตรรกะ (ตรรกะ) มีการศึกษาในนาลันทามหาวิหาร ปัจจุบันโบราณสถานนาลันทาตั้งอยู่ราว 95 กิโลเมตร (59 ไมล์) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองปัฏนา และเป็นหนึ่งในศูนย์กลางด้านการศึกษาที่ใหญ่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ห้าถึง ค.ศ. 1200[5] ยูเนสโกรับรองสถานะแหล่งมรดกโลกให้กับนาลันทามหาวิหารในปี ค.ศ. 2016[6][7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Nalanda". Archaeological Survey of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 กันยายน 2014. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2014.
- ↑ Le 2010, p. 59.
- ↑ "Alphabetical List of Monuments – Bihar". Archaeological Survey of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2011. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2014.
- ↑ "History of Nalanda". Nalanda District. National Informatics Centre, Ministry of Electronics & Information Technology, Government of India.
- ↑ Scharfe 2002, p. 149.
- ↑ "Four sites inscribed on UNESCO's World Heritage List". whc.unesco.org (ภาษาอังกฤษ). UNESCO World Heritage Centre. 15 กรกฎาคม 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 กรกฎาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2016.
- ↑ "Chandigarh's Capitol Complex makes it to UNESCO's World Heritage List". Economic Times. 18 กรกฎาคม 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 กรกฎาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2016.
บรรณานุกรม
[แก้]- Le, Huu Phuoc (2010). Buddhist Architecture. Grafikol. pp. 58–66. ISBN 978-0-9844043-0-8.
- Scharfe, Hartmut (2002). Education in Ancient India. Handbook of Oriental Studies. Vol. 16. Brill. ISBN 978-90-04-12556-8.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Nalanda